Page 27 - Culture2-2016
P. 27







กลองยาวไทยพนื้ บา้ นในภาคเหนอื และอสี าน




กลองยาวพบแทบทุกภูมิภาคของไทย มีชื่อเรียกแตกต่างกันไป 


ภาคกลางยังเรียกกลองยาวอีกชื่อหนึ่งว่า “เถิดเทิง” ในภาคเหนือ ชาวไทยใหญ่ 

เรียก “กลองก้นยาว” หรือ “กลองปูเจ่” ชาวไทยลื้อเรียก “กลองตีนช้าง” 


และยังมีชื่อเรียกอื่นๆ ในภาษาเหนืออีก เช่น “อุเจ่” “อู่เจ่” “ปุ๊ดเจ่” หรือ 

“ปั๊ดเจ่” เป็นต้น สาหรับชาวอีสานเรียกกลองยาวพื้นบ้านแบบของพวกเขาว่า 

“กลองหาง” หรือ “กลองแอว”


กลองยาวของภาคเหนือมีขนาดใหญ่และยาวกว่า คือมีขนาดยาวถึง 

๑๘๐ เซนติเมตร นับว่าสูงกว่าความสูงของผู้ชายโดยเฉลี่ย และหน้ากลองกว้าง 

๓๐ เซนติเมตร


ส่วนกลองยาวแบบถิ่นอีสาน หากไม่สังเกตก็อาจไม่เห็นความแตกต่าง 

ตรงที่หัวกลองยาวมีทรวดทรงยาวกว่า แต่หางกลองจนถึงปากแตรสั้นกว่า 


ส่วนหนังหน้ากลองนิยมใช้ด้านที่มีขนขึ้นหน้ากลอง กลองยาวอีสานยังแบ่งย่อย 

เป็น ๓ ประเภทตามลักษณะเสียง คือ เสียงใหญ่ เสียงกลาง และเสียงเล็ก 

ซึ่งมีขนาดของกลองต่างกันตามลา ดับด้วย






ถึงวันนี้วงกลองยาวยังคงอยู่คู่กับสังคมไทยทุกภูมิภาค มีการพัฒนารูปแบบ 


การละเล่นไปตามยคุสมัยเช่นมีเครอ่ืงขยายเสียงเครื่องดนตรีประกอบมากขึ้นตลอดจน 

เพลงที่นามาใช้ หรือรูปแบบการแสดง เป็นต้น ทั้งยังมีการก่อตั้งคณะกลองยาวข้ึน 


มากมายทั่วประเทศ รับงานในโอกาสต่างๆ ทั้งงานมงคล งานเทศกาล หรือวันพิเศษ 

ของผวู้ า่ จา้ ง อาทิ งานแตง่ งาน งานขนึ้ บา้ นใหม่ งานบวชนาค โดยมกี ารจดั ชดุ เลก็ ชดุ กลาง 

ชุดใหญ่ตามจานวนของกลองคือกลองยาวไม่เกนิ๕ลกูนบัเป็นชดุเลก็กลองยาวไม่เกนิ 


๒๐ ลูกนับเป็นชดุ กลาง และกลองยาวเกนิ กว่า ๒๐ ลกู นับเป็นชุดใหญ่

ในการตกีลองผู้เล่นไม่เพยีงใช้นวิ้มอืหรอืทงั้สองมอืแต่ยังใช้ทัง้กาปั้นทั้งหวัโหม่ง 

เข่าและศอก แถมด้วยลีลาการหมุนตัว โยกย้ายส่ายสะโพก เอนกายควา่ หน้า หงายหลงั 


กระโดด วาดลีลาให้เข้าจังหวะ เพื่อความสนุกสนานเร้าใจ นี่เป็นรูปแบบเฉพาะของ 

“กลองยาวไทย เถิดเทิงระเริงสนุก” หากเป็นขบวนแห่ขันหมากก็มักปิดท้ายด้วย 


เสียงร้องเพลงท่อนนี้

“ใครมมี ะกรดู มาแลกมะนาวใครมมี ะกรดู มาแลกมะนาวใครมลี กู สาวมาแลก 

ลกู เขย เอาวะเอาเหวย ลกู เขยกลองยาว ตะละลา้ หยุ ฮา...”




หนังสืออ้างอิง

จารึกสมัยสุโขทัย. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๒๖.

พญาลิไท กองพระญาลิไทย. ไตรภูมิพระร่วง. พิมพ์ครั้งที่ ๘. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์บรรณาคาร, ๒๕๔๓.



25
เมษายน-มถิ นุ ายน ๒๕๕๙ 



   25   26   27   28   29