Page 41 - Culture1-2016
P. 41
น้าําเคลือบทีใ่ช้คอื น้ําาโคลนผสมกับขี้เถ้าและทุกอย่าง
ลว้ นผกู พนั กบั ธรรมชาตริ ายลอ้ ม เชอื่ กนั วา่ เถา้ จากกระดกู สตั ว์
จะให้สีสันสวยสดงดงามกว่าเถ้าที่เผาจากพืช
ในน้ําาเคลือบแต่ละสูตรของช่างโอ่งที่แตกต่างกันส่งผล
ใหม้ โี อง่ มงั กรอนั หลากหลายใหผ้ คู้ นไดเ้ ลอื กซอื้ หา ชา่ งบางคน
ผสมแก้วลงไปในน้ําาเคลือบ ด้วยเชื่อในเรื่องของความมันวาว
ขณะที่ช่างบางคนกลับนําาหินฟันม้ามาผสมในน้ําาเคลือบ
ด้วยเชื่อในเรื่องของความแกร่งของโอ่งหลังผ่านพ้นอุณหภูมิ
และฟืนไฟ
ก่อนที่โอ่งมังกรจะเต็มไปด้วยความเยียบเย็นของ
เนื้อดินและมวลน้ําายามบรรจุ ต้องผ่านขั้นตอนแห่งความร้อน
ซึ่งเป็น “ปลายทาง” ของช่างปั้นโอ่งมังกรราชบุรีที่เต็มไป
โอ่งที่เสร็จสมบูรณ์ ตั้งเรียงรายรอส่งถึงมือลูกค้า
ด้วยความพิถีถิถัน
การเผาโอ่งคือขั้นตอนที่หลอมรวมทั้งในเรื่องของ
การปั้น การเคลือบ และการเขียนลาย ทั้งหมดทั้งมวล
ต้องพึ่งพาการเผาด้วยอุณหภูมิความร้อนสูง ใช้เวลาหลาย
ชั่วโมงตามการทดลองและเรียนรู้เป็นเคล็ดลับต่างๆ ของ
ช่างปั้น ความมันวาวและสวยงามของลวดลายรวมไปถึง ขณะที่มวลน้ําปริ่มเต็มในโอ่งดินโบรําณคร่ําคร่ํา
สีสัน ต้องพึ่งประสบการณ์หลังเปลวไฟของพวกเขามาอย่าง ใครสกั คนคอ่ ยบรรจงสมั ผสั ควํามชนื่ เยน็ อนั แสน “พเิ ศษ”
ช่ําาชอง
เปน็ เอกลกั ษณข์ องโอง่ ดนิ เผําทมี่ ลี ํายมงั กรแสนละเอยี ด
เตาเผาโอ่งของแต่ละโรงงานในราชบุรีก่อด้วยอิฐ มี ออ่ นประดบั งดงํามลอ้ มรอบอยทู่ วั่ ควํามกลมกลงึ
ผนังและหลังคาทอดทรงยาว มีประตูทางเข้าออกเพื่อนําา อําจเป็นมังกรโบรําณสักตัวท่ีพําคนเพ่งมองย้อน
โอ่งและภาชนะต่างๆ เข้าไปเผาเพียงด้านเดียว ส่วนอีกด้าน กลบั ไปหําโลกบํางใบทซ่ี มุ่ ซอ่ นอยรู่ มิ สํายนํา้ แมก่ ลองแหง่
เจาะช่องไว้สําาหรับเติมเชื้อเพลิงเรียกกันว่า“ตา”ว่ากันว่า
เมอืงรําชบรุี
ขนาดและความใหญ่โตของเตาเผาจะวัดกันที่จําานวนประตู โลกของมังกรบนโอ่งท่ีผสํานรวมเร่ืองรําวของ
และจําานวนตาที่ทบทวี
เนอื้ ดนิ ชํา่ งปน้ั ประวตั ศิ ําสตร์ และคณุ คํา่ ทํางวฒั นธรรม
การเผาโอ่งในเตาโบราณนี่เองที่บ่มเพาะให้ช่างโอ่ง ท่ีต่ํางก็เดินทํางผ่ํานกําลเวลําและควํามเป็นไปมําสู่โลก
เป็นคนเข้าใจดิน เข้าใจไฟ และเข้าใจเวลา ด้วยมันผสม ปจั จบุ นั เปน็ งํานหตั ถกรรมอนั งดงําม
ผสานทั้งการปั้น การเคลือบ การใช้อุณหภูมิและความร้อนที่ เป็นโลกที่บอกกับเรําวํา่ หลํายส่ิงล้วนยังหยัดยืน
เหมาะสมนับสิบชั่วโมง ก่อนที่โอ่งมังกรราชบุรี รวมไปถึง หํายใจ ตรําบเทํา่ ทผ่ี คู้ นตรงนน้ั ยงั ไมห่ นั หน้ําหํา่ งหํายไป
ไห กระถาง อ่างบัว และหลายต่อหลายงานปั้นจะเดินทาง จํากทิศทํางและคืนวันที่ทอดยําวและหล่อหลอมพวก
ออกมาด้านนอกเตาเผา
เขํามํา
............................................................................
39
มกราคม-มนี าคม ๒๕๕๙