Page 16 - Culture1-2016
P. 16
ในดนิ แดน
กลุ่มอาเซียน หลายประเทศอาจไม่
พบโบราณสถานที่ทิ้งร่องรอยของศาสนาพราหมณ์-ฮินดููและ
ศาสนาพุทธหลงเหลือให้เห็น แต่ทว่าก็ยังมีชื่อบ้านนามเมือง
ประเทศนั้นเป็นภาษาบาลีและสันสกฤต คือภาษาที่มากับ
พราหมณ์-ฮินดูและพุทธ อย่างเช่น “สงิ หปรุ ะ” เมื่อออกเสียง
สาํา เนยี งฝรงั่ กลายเปน็ “สงิ คโปร”์ หรอื “บนั ดาร์ ศรภี คั วาน”
เป็นภาษาเปอร์เซียผสมภาษาสันสกฤต แปลว่า “ทา่ เรอื ของ
ผู้ศักด์ิสิทธ์ิ” แต่เราออกเสียงตามตัวสะกดภาษาอังกฤษ
กลายเป็นเมืองหลวงของประเทศ
“บนั ดาร์เสรีเบกาวาน”
บรูไน และ “ศรีวิจายา” คือ “ศรีวิชัย” เมื่อออกเสียงแบบ
ชาวไทยเรา
ศาสนาพราหมณ์-ฮินดูและศาสนาพุทธนับว่าเป็น
“ศาสนาร่วมราก” ด้วยมีความเป็นมาที่เกี่ยวดองกันอย่าง
ลึกซึ้ง ในถิ่นกําาเนิดเอเชียใต้-อินเดีย ความเชื่อความนิยม
ในศาสนาทั้งสองกระจายตัวอย่างเป็นปึกแผ่นทั่วถิ่นเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ พร้อมกับวิทยาการแขนต่างๆ ที่ถูกนําาพา
มาโดย “พราหมณ”์ ผรู้ อบรู้ และสบื ทอดวทิ ยาการดา้ นตา่ งๆ
ทั้งจารีต ประเพณี พิธีกรรม คติธรรม วัฒนธรรม ศิลปกรรม
รวมทั้งศิลปสถาปัตยกรรม
ภาพจําาหลัก เทพร่ายรําา
ในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
ยังได้รับการบูชาอย่างจริงจัง
ของชาวบาหลี อินโดนีเซีย
ศาสนาพราหมณ-์ ฮนิ ดแู ละศาสนาพทุ ธ “ศาสนารว่ มราก”
ศาสนาพราหมณ-์ ฮนิ ดู นับเป็นศาสนาที่เก่าแก่ที่สุดในโลก ในเวลาต่อมาได้เสื่อมความนิยมลงระยะหนึ่ง เมื่อศาสนา
พุทธเกิดขึ้นและเริ่มเข้าแทนที่ จนถึงช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๓ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดูจึงได้มีการปฏิรูปศาสนาโดยนาํา หลัก
ปฏิบัติรวมทั้งหลักธรรมของพุทธมหายานบางส่วนมาใช้ ขณะเดียวกันหลักธรรมส่วนใหญ่ของศาสนาพุทธก็ประยุกต์มา
จากศาสนาพราหมณ์เดิม แม้แต่พระพุทธเจ้าและพุทธสาวกทั้งหลายของสมัยแรกเริ่ม ท่านทั้งหลายก็ล้วนเคยนับถือศาสนา
พราหมณ์หรือเคยเกี่ยวข้องกับวรรณะพราหมณ์มาก่อน
ศาสนาพราหมณ-์ ฮนิ ดู มีเทพเจ้าสูงสุดที่ได้อวตารแยกร่างออกมาเป็น ๓ องค์ เรียกว่า “ตรมี รู ต”ิ ได้แก่ พระพรหม
เป็นผู้สร้างโลก, พระศิวะ เป็นผู้ทําาลาย, พระวิษณุ เป็นผู้ปกป้องรักษาโลก และกล่าวว่าพระพุทธเจ้าเป็นองค์อวตารของ
พระวิษณุ
ในขณะทศ่ี าสนาพทุ ธเชอ่ื วา่ ผทู้ ส่ี งู สดุ หรอื ศาสดา คอื พระพทุ ธเจา้
14