Page 13 - Culture1-2016
P. 13
มีคลองมาก ผู้คนต้องใช้เรือเป็นพาหนะคล้ายกับเมืองเวนิส สรุปว่าวลี “สยามเมืองย้ิม” น่าจะมาจากชื่อหนังสือ
ที่เขารู้จักมาก่อน เขาก็ให้สมญานามกรุงศรีอยุธยาว่าเป็น Land of Smiles มากกวา่ เหตอุ นื่ คอื ชาวตา่ งชาตเิ ขาตัง้ ใหต้ าม
เมืองเวนิสตะวันออก The Venice of the East ซึ่งได้เรียก อุปนิสัยของคนไทย และไม่เคยพบว่ามีใครกล่าวถึงการยิ้ม
ต่อมาจนถึงสมัยกรุงเทพฯ เพราะบ้านเมืองมีลักษณะอย่าง ของคนไทยมาก่อนหน้านี้เลย
เดียวกัน
อันที่จริง การไหว้ การยิ้ม และคําาว่า สวัสดี เป็นสิ่งที่
ฝรั่งคนหนึ่งเรียกกันว่าครูยัง (Ernest Young) เข้ามา มีประจําาตัวคนไทยมาช้านานแล้ว เพียงแต่ไม่ได้นําามาใช้ให้
เป็นครูสมัยรัชกาลที่ ๕ ก็ยังเรียกบางกอกว่า The Venice of เป็นกิจจะลักษณะจนติดเป็นนิสัยเท่านั้นเอง และเมื่อนําามา
theEastอยู่เช่นเดิมครยูังเขียนหนังสือไว้หลายเล่มเล่มหนึ่ง ชี้แนะให้เห็นคุณประโยชน์ก็กลายเป็นเสน่ห์ที่น่าภาคภูมิใจ
มีชื่อว่า The Kingdom of the Yellow Robe หรือ อาณาจักร ที่คนชาติอื่นอยากมีอยากเป็นเช่นนี้บ้าง
แห่งผ้ากาสาวพัสตร์ พิมพ์เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๑ ที่ตั้งชื่อเช่นนั้น คุณธรรมอย่างหนึ่งซึ่งเราได้มาพร้อมกับการนับถือ
ก็เพราะเห็นว่ามีสีจีวรของพระเหลืองไปทั้งเมือง เป็นเมือง พระพุทธศาสนาก็คือความกตัญญูกตเวทิตา รู้คุณท่านและ
พระพุทธศาสนา
ตอบแทนคณุ ถอืเปน็คณุธรรมทสี่าําคญัของมนษุย์ทา่นสนุทรภู่
ฝรั่งอีกคนหนึ่งชื่อ พี. ทอมสัน (P. Thomson) เข้ามา ก็กล่าวเตือนไว้ว่า “ทรลักษณ์อกตัญญุตาเขา เทพเจ้า
เมืองไทยเห็นดอกบัวมีอยู่ทั่วไป (ในสมัยนั้นมีดอกบัวนานา ก็จะแช่งทุกแห่งหน” ผู้เขียนคิดว่าที่ผู้ใหญ่สอนตอนเป็น
ชนิดขึ้นอยู่ตามบ่อตามบึง แม้ตามทุ่งนาในเวลาน้ําาท่วมทุ่ง เด็กให้ไหว้ก่อนรับของจากผู้ใหญ่นั้น ก็คือการสอนให้รู้จัก
ก็จะมีทั้งบัวหลวง บัวสาย บัวเผื่อน บัวผัน ชูดอกให้เห็น) ขอบคุณนั่นเอง เป็นการแสดงความขอบคุณด้วยการไหว้
เขาได้เขียนหนังสือขึ้นเล่มหนึ่งตั้งชื่อว่า แผ่นดินดอกบัว ต่อมาเมื่อมีการปรับปรุงวัฒนธรรมดังกล่าวมาแล้วจึงกําาหนด
(Lotus Land) พิมพ์เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๙ ปลายรัชกาลที่ ๕
ให้กล่าว“ขอบคณุ”เพิ่มขึ้นอีกอย่างหนึ่งหรือเมื่อทําาสิ่งใด
หนงัสอืดงักลา่วขา้งตน้ชาวตา่งประเทศไดน้ําาลกัษณะ
ผิดพลั้งก็กล่าวคําา“ขอโทษ”
2
ความจริงการขอบคุณและการขอโทษเป็นคาําทเี่รา ที่เด่นของไทยไปตั้งเป็นชื่อหนังสือพิมพ์ออกเผยแพร่ให้
เคยใช้มาก่อน แต่ไม่ได้ใช้ให้เป็นปกติติดปากเท่านั้น และ คนทั่วโลกได้รู้จัก แต่ชื่อก็ยังไม่ติดปากติดหู จนต่อมา
เรายังมีคําาอ่ืนๆ ที่มีความหมายอย่างเดียวกันน้ีท่ีใช้ใน นาย W.A.R. Wood นกั เรยี นลา่ มถกู สง่ มาประจาํา อยใู่ นเมอื งไทย
ภาษาหนงั สอื อกี หลายคําา สรปุ วา่ เรอื่ งตา่ งๆ ทก่ี ลา่ วมาถอื มาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๓๙ อายุเพียง ๑๘ ปี ได้เขียนหนังสือ
เปน็ ลกั ษณะของคนไทยทสี่ มควรคงไว้ ถา้ ปฏบิ ตั จิ นตดิ เปน็
เกี่ยวกับเมืองไทยไว้หลายเล่ม มีอยู่เล่มหนึ่งชื่อ แผ่นดิน
แห่งรอยย้ิม(LandofSmiles)พิมพ์เมื่อพ.ศ.๒๔๗๘ นิสัยสังคมไทยจะมีแตค่วาม
เขาคบหาสมาคมกบัคนไทยอย่างใกลช้ดิเขา้ใจอปุนสิยัใจคอสงบสุขอย่างแนน่อน
ของคนไทยเป็นอย่างดี เขาเห็นคนไทยพบกันแล้วต่างก็
ยิ้มแย้มทักทายกันอย่างร่าเริงแจ่มใสเป็นที่ประทับใจ จึงตั้ง
ชื่อหนังสือตามนิสัยและอาการที่แสดงออกของคนไทยว่า
เป็น Land of Smiles
เข้าใจว่าสมญานาม Land of Smiles จะเป็นที่รู้จัก
ของชาวต่างประเทศมากขึ้น เพราะการประชาสัมพันธ์มีทั้ง
วิทยุกระจายเสียงและหนังสือพิมพ์ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
คนไทยเองกเ็ รมิ่ มองเหน็ จดุ เดน่ ของตนเองวา่ เปน็ จรงิ อยา่ งนนั้
จึงนําามาใช้เป็นวลีที่ชัดเจนขึ้นว่า“สยามเมืองยมิ้”
11
มกราคม-มนี าคม ๒๕๕๙